ลักษณะโครงการ
อุโมงค์ระบายน้ำ (Tunnel)
- ประเภทอุโมงค์ TunnelLining ชนิด Concrete Segment
- วิธีการเจาะอุโมงค์ Tunnelboring Machine,TBM แบบ Earth Pressure Balance, EPB
- ความยาวประมาณ13.3 กิโลเมตร
- ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5.70 เมตร
- ระดับความลึก 30 ถึง 40 เมตร
- Longitudinal Slope 1 : 4,000
- ความสามารถในระบายน้ำสูงสุด 60 ลบ.ม./วินาที
- ความเร็วของน้ำสูงสุด 3 เมตร/วินาที
บ่อก่อสร้างอุโมงค์ (Shaft)
- จำนวน 5 แห่ง
- ประเภทคอนกรีตเสริมเหล็ก
- ความลึก ประมาณ 30 ถึง40 เมตร
- ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 16 เมตร
อาคารสถานีสูบน้ำ (Pumping Structure)
- กม. 0+000 ของอุโมงค์ระบายน้ำ
- ที่ตั้ง ถนนประชาราษฎร์สาย1บริเวณสะพานพระราม7 แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ
- ลักษณะอาคาร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก และเป็นที่ตั้งของอาคารควบคุม
- ความสามารถในการระบายน้ำ 60 ลบ.ม./วินาทีความสามารถในรับน้ำเพื่อเจือจางน้ำเสีย 60ลบ.ม./วินาที
อาคารรับน้ำ (Intake Structure) แห่งที่ 1
- กม. 13+625 ของอุโมงค์ระบายน้ำ
- ที่ตั้ง คลองบัวแขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่
- ลักษณะอาคาร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
- ความสามารถในการรับน้ำ 60 ลบ.ม./วินาที
- ความสามารถในระบายน้ำ 40 ลบ.ม./วินาที
อาคารรับน้ำ (Intake Structure) แห่งที่ 2
- กม. 11+890 ของอุโมงค์ระบายน้ำ
- ที่ตั้ง คลองเปรมประชากร ตอนวัดหลักสี่ แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่
- ลักษณะอาคาร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ความสามารถในการรับน้ำ 20 ลบ.ม./วินาที
อาคารรับน้ำ (Intake Structure) แห่งที่ 3
- กม. 7+620 ของอุโมงค์ระบายน้ำ
- ที่ตั้ง บริเวณคลองเปรมประชากร ตอนคลองวัดเทว สุนทรแขวงลาดยาว เขตจตุจักร
- ลักษณะอาคาร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
- ความสามารถในการรับน้ำ 40 ลบ.ม./วินาที
- ความสามารถในระบายน้ำ 20 ลบ.ม./วินาที
อาคารรับน้ำ (Intake Structure) แห่งที่ 4
- กม. 4+980 ของอุโมงค์ระบายน้ำ
- ที่ตั้ง ที่ตั้ง บริเวณคลองเปรมประชากร ช่วงตัดกับถนนรัชดาภิเษก แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ
- ลักษณะอาคาร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
- ความสามารถในการรับน้ำ 20 ลบ.ม./วินาที
- ความสามารถในระบายน้ำ 10 ลบ.ม./วินาที